เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ได้มีงานกีฬาสี แต่วันศุกร์ที่ผ่านมาอาจารย์ก็ได้สรุปการเรียนการสอน ดังนี้
ทฤษฎีที่เป็นกุญแจสำคัญของการสะท้อนความคิดต่อการสนอของครู (Reflective teaching)"ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางองค์กระบวนการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรบูรณาการด้านภาษาให้กลมกลืนไปกับการเรียนรู้ในทุกเรื่อง
การนำเข้าสู่บทเรียน- การร้องเพลง- การใช้คำถาม- ปริศนาคำทาย- ความคล้องจอง- การใช้นิทาน- เกมส์ เช่น เกมภาพตัดต่อ เกมจับคู่ภาพ
ขั้นสอน- การสาธิตเป็นกระบวนการทำ เพราะการสาธิตเป็นลำดับขั้นตอน
เพียเจต์เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนใหวและมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้ ขั้นภายในตนเองโดยเด็กเป็นผู้กระทำ (Active) ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในการคิดด้วยตนเอง จึงกล่าวได้ว่า การเรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมผ่านการเล่นซึ่งช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาจากกิจกรรมที่ทำร่วมกันและรายบุคคล
ไวกอตสกีการเรียนรู้ภาษาของเด็กเกิดขึ้นได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้เคียง เช่น พ่อ แม่ เพื่อน ครู บริบทหรือสิ่งต่างๆรอบตัวมีอิทธิพลต่อเด็กในการช่วยเหลือให้ลงมือทำเป็นขั้นตอนผ่านการและกิจกรรมนำไปสู่การเรียนรู้ภาษาผ่านการใช้สัญลักษณ์
ฮอลลิเดย์บริบทสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่หลากหลายมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ และการใช้ภาษาของเด็ก เด็กจะเป็นผู้ใช้ภาษาในการมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนที่เกี่ยวข้องในการเรียนรู้ทุกสิ่งผ่านภาษาและเรียนเกี่ยวกับภาษาไปพร้อมๆกัน
กู๊ดแมนภาษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับชีวิตเด็ก เด็กต้องเรียนรู้ภาษาและต้องใช้ภาษาและต้องใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้นครูต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับภาษา
"กระบวนการ""บรรยากาศการเรียน" มีลักษณะของการร่วมมือกันระหว่างครูและเด็กๆ ตั้งแต่การวางแผน คือ คิดด้วยกันว่าจะทำอะไร ทำเมื่อไร ทำอย่างไร จำเป็นต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร จะหาสิ่งที่ต้องการมาได้อย่างไร และใครจะช่วยทำงานในสว่นใด
การวางแผนจะมีทั้งระยะยาว( long- range plans) เพื่อวางกรอบความคิดกว้างๆการวางแผนระยะสั้น(shot- range plans) โดยเด็กและครูจะใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหารายละเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรม
"การฟังและพูดของเด็ก"เด็กมีโอกาสได้ยินเสียงแม่พูด แม้ว่ายังพูดไม่ได้
เด็กเกิดการเรียนรู้ภาษาพูดเพราะการสอนเด็กใหพูดนั้นเด็กจำเป็นต้องได้ยิน ได้ฟังภาษาพูดก่อน ยิ่งได้ฟังมากจะเข้าใจชัดเจนขึ้น การเรียนรู้ประโยคพูดยาวๆ ทำให้เด็กมีพัฒนาการด้านภาษาอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น
เด็กวัย 2-3 ขวบ การพูดของแม่จะช่วยให้ลูกมีพัฒนาการทางภาษาที่ดี การสนทนา การซักถาม เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันเป็นสิ่งที่จำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ในด้านการเข้าใจความหมายของภาษาจากเรื่องง่ายไปหาเรื่องที่ยากและสลับซับซ้อนมากขึ้น
ภาษามีบทบาทในการสื่อสารความคิดรวมไปถึงจินตนาการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนได้เป็นอย่างดี
"การอ่านและเขียนของเด็ก"การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาสเด็กเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเขียน ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฏเกณฑ์ทุกขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือ การให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็นในเรื่องที่อ่านว่า สิ่งที่ประกอบกันขึ้น คือองค์รวมที่เป็นเนื้อหาที่นำเสนอระบบการคิดผ่านไวยากรณ์ของภาษา
ควรสนทนากับเด็กเกี่ยวกับกฏเกณฑ์ทางภาษาอย่างง่ายๆ เนื้อหาที่อ่านควรสัมพันธ์กับสิ่งๆรอบตัว และพยายามเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมของเด็กตลอดเวลาเพื่อให้เห็นประโยชน์และความเกี่ยวพันของภาษาเขียนกับชีวิตจริง
จึงกล่าวได้ว่า การเขียน หมายถึง การสื่อสารเพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างความหมายการเขียนและการอ่านจะดำเนินการไปพร้อมกัน เนื่องจากการเป็นนักเขียนที่ดีนั้นต้องอาศัยการอ่านที่แตกฉานในเรื่องนั้นๆ ส่วนการฝึกฝนให้เด็กเขียนหนังสือนั้น ครูต้องตระหนักว่าการฝึกเขียนที่ให้ลอกเลียนแบบโดยเด็กไม่ได้ใช้ความคิดเเต่เป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือ หรือฝึกเฉพาะความสวยงามของลายมือแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับการเขียนที่มาจากความคิด
ภาษาที่ได้จากกาฝึกคิดและการถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นภาษาสัญลักษณ์ คือ ตัวอักษรอย่างธรรมชาติจากการได้ฟังมาก ได้อ่านมาก จนสามารถถ่ายทอดเองได้ และมาฝึกฝนความถูกต้อง สวยงามภายหลัง ส่วนการอ่านนั้นสามารถทำได้ตลอดเวลาด้วยการอ่านจากหนังสือ จากถนน จากสิ่งรอบตัว จากป้ายโฆษณา จากถุงขนม
ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่ และกิจกรรมที่จัดให้เด็กให้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกัน ในการรับฟังและการตรวจสอบความคิดความเข้าใจซึ่งกันและกันโดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ ครู-เด็ก เรียนร่วมกัน หรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเอง
ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทงภาษาแบบองค์รวม"อ่าน-เขียน"- เน้นความเข้าใจเเน้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านการฟังนิทาน เรื่องราวสนทนาโต้ตอบ คิดวิเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่- การคาดคะเนโดยการเดาในขระเขียน อ่าน และสะกด เป็นสิ่งที่ได้รับในการเรียนรู้ภาษาธรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องอ่านหรือสะกดถูกต้องทั้งหมด
วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551
บันทึกครั้งที่3
วันพุธที่ผ่านนี้อาจารย์ได้สอนทบทวนจากคราวที่แล้วพร้อมยกตัวอย่างให้เข้าใจเพิ่มมากขึ้น และสอนต่อเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้
การนำเข้าสู่บทเรียนของการสอนนั้นมีหลายวิธีเช่นเกม เพลงต่างๆ นิทาน คำคล้องจอง
กระบวนการ
บรรยากาศการเรียน มีลักษณะของความร่วมมือกันระหว่างครูและเด็กๆตั้งแต่การวางแผนคิดด้วยกันจะทำอะไร ทำเมื่อไร ทำอย่างไร จำเป้นต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร จะหาสิ่งต้องการมาได้อย่างไร และใครจะช่วยทำงานในส่วนใด การวางแผนจะมีทั้งระยะยาว(long range plans)เพื่อวางกรอบคิดกว้างๆ
แผนระยะสั้น(short range plans)โดยเด็กและครูจะใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหารายละเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรม
การฟังและการพูดของเด็ก
เด็กมีโอกาสได้ยินเสียงแม่พูด แม้ว่ายังพูดไม่ได้ เด็กเกิดการเรียนรู้ภาษาพูดเพราะการสอนเด็กให้พูดนั้น เด็กจำเป็นต้องได้ยินได้ฟังภาษาพูดก่อน ยิ่งได้ฟังมากจะเข้าใจชัดเจนขึ้นและเรียนรู้คำศัพท์มากขึ้น
เด็กวัย 2-3ขวบการพูดของแม่จะช่วยให้ลูก มีพัฒนาการภาษาที่ดีการสนทนา การซักถามเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันเป็นสิ่งจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ในด้านการเข้าใจความหมายของภาษาจากเรื่องง่ายไปถึงเรื่องที่ยากและซับซ้อนมากขึ้น
ภาษามีบทบาทในการสื่อความคิดรวมไปจินตนาการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนได้อย่างดี การอ่านและการเขียน
การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาสเด็กเรียนรู้เพื่อฒนาภาษาเขียน ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฎเกณฑ์ทุกขั้นตอนที่สำคัญคือการให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็นในเรื่องอ่านว่าสิ่งที่ประกอบกันขึ้นทั้งหมดคือองค์รวมที่เป็นเนื้อหาที่เป็นระบบการคิดไวยากรณ์ของภาษา
ควรสนทนากับเด็กเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ทงภาษาอย่างง่ายๆ เนื้อหาที่อ่านควรสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆรอบตัวและพยายามเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็กตลอดเวลา เพื่อให้เห็นประโยชน์และความเกื่ยวพันของภาษาเขียนกับชีวิตจริง
จึงกล่าวได้ว่า การหมายถึงการสื่อสารเพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างมีความหมาย
การเขียนและการอ่านจะดำเนินไปพร้อมกันเนื่องจากการเป็นนักเขียนที่ดี ได้นั้นต้องอาศัยการที่แตกฉานในเรื่องนั้น ๆส่วนการฝึกฝนให้เด็กเขียนหนังสือนั้นๆ ครูต้องตระหนักว่าการฝึกเขียนที่ให้ลอกเรียนแบบโดยเด็กไม่ต้องใช้ความคิดแต่เป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือหรือฝึกเฉพาะความสวยงามของลายมือนั้นแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับการเขียนที่มาจากความคิด
ภาษาที่ได้จากการฝึกคิดและถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นภาษาสัญลักษณ์คือตัวอักษรอย่างธรรมชาติจากการได้ฟังมาก ได้อ่านมากจนสามามรถถ่ายทอดเองได้ และมาฝึกฝนความถูกต้องสวยงามภายหลัง ส่วนการอ่านนั้นสามารถทำได้ตลอดเวลาด้วยการอ่านจากหนังสือ จากถนน จากสิ่งรอบตัว จกป้ายโฆษณา จากถุงขนม
ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านรวกับผู้ใหญ่และกิจกรรมีจัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกันเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อยเพื่ออภิปรายร่วมกันนการรับฟังและตรวจสอบความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านสิ่งที่ครู-เด็กเขียนร่วมกันนับเป็นสิ่งทีอ่านได้ดีที่สุด
จากการสอบถามเด็กหญิงหนึ่งว่าหนูชอบอะไรมากที่สุดค่ะ”ชอบดอกกุหลาบ”ทำไมหนูถึงชอบ”เพราะมันสวยดีค่ะ”นี่แหละค่ะภาษาของเด็กที่อาจารย์อยากพวกเราได้เรียนรู้
การนำเข้าสู่บทเรียนของการสอนนั้นมีหลายวิธีเช่นเกม เพลงต่างๆ นิทาน คำคล้องจอง
กระบวนการ
บรรยากาศการเรียน มีลักษณะของความร่วมมือกันระหว่างครูและเด็กๆตั้งแต่การวางแผนคิดด้วยกันจะทำอะไร ทำเมื่อไร ทำอย่างไร จำเป้นต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร จะหาสิ่งต้องการมาได้อย่างไร และใครจะช่วยทำงานในส่วนใด การวางแผนจะมีทั้งระยะยาว(long range plans)เพื่อวางกรอบคิดกว้างๆ
แผนระยะสั้น(short range plans)โดยเด็กและครูจะใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหารายละเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรม
การฟังและการพูดของเด็ก
เด็กมีโอกาสได้ยินเสียงแม่พูด แม้ว่ายังพูดไม่ได้ เด็กเกิดการเรียนรู้ภาษาพูดเพราะการสอนเด็กให้พูดนั้น เด็กจำเป็นต้องได้ยินได้ฟังภาษาพูดก่อน ยิ่งได้ฟังมากจะเข้าใจชัดเจนขึ้นและเรียนรู้คำศัพท์มากขึ้น
เด็กวัย 2-3ขวบการพูดของแม่จะช่วยให้ลูก มีพัฒนาการภาษาที่ดีการสนทนา การซักถามเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันเป็นสิ่งจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ในด้านการเข้าใจความหมายของภาษาจากเรื่องง่ายไปถึงเรื่องที่ยากและซับซ้อนมากขึ้น
ภาษามีบทบาทในการสื่อความคิดรวมไปจินตนาการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนได้อย่างดี การอ่านและการเขียน
การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกวันเป็นเป็นสิ่งจำเป็นในการให้โอกาสเด็กเรียนรู้เพื่อฒนาภาษาเขียน ขณะที่อ่านควรชี้นิ้วตามตัวหนังสือประกอบไปด้วย ทำให้เด็กเรียนรู้กฎเกณฑ์ทุกขั้นตอนที่สำคัญคือการให้เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจประเด็นในเรื่องอ่านว่าสิ่งที่ประกอบกันขึ้นทั้งหมดคือองค์รวมที่เป็นเนื้อหาที่เป็นระบบการคิดไวยากรณ์ของภาษา
ควรสนทนากับเด็กเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ทงภาษาอย่างง่ายๆ เนื้อหาที่อ่านควรสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆรอบตัวและพยายามเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็กตลอดเวลา เพื่อให้เห็นประโยชน์และความเกื่ยวพันของภาษาเขียนกับชีวิตจริง
จึงกล่าวได้ว่า การหมายถึงการสื่อสารเพื่อแสดงความคิดความรู้สึกออกมาอย่างมีความหมาย
การเขียนและการอ่านจะดำเนินไปพร้อมกันเนื่องจากการเป็นนักเขียนที่ดี ได้นั้นต้องอาศัยการที่แตกฉานในเรื่องนั้น ๆส่วนการฝึกฝนให้เด็กเขียนหนังสือนั้นๆ ครูต้องตระหนักว่าการฝึกเขียนที่ให้ลอกเรียนแบบโดยเด็กไม่ต้องใช้ความคิดแต่เป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือหรือฝึกเฉพาะความสวยงามของลายมือนั้นแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับการเขียนที่มาจากความคิด
ภาษาที่ได้จากการฝึกคิดและถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นภาษาสัญลักษณ์คือตัวอักษรอย่างธรรมชาติจากการได้ฟังมาก ได้อ่านมากจนสามามรถถ่ายทอดเองได้ และมาฝึกฝนความถูกต้องสวยงามภายหลัง ส่วนการอ่านนั้นสามารถทำได้ตลอดเวลาด้วยการอ่านจากหนังสือ จากถนน จากสิ่งรอบตัว จกป้ายโฆษณา จากถุงขนม
ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านรวกับผู้ใหญ่และกิจกรรมีจัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกันเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อยเพื่ออภิปรายร่วมกันนการรับฟังและตรวจสอบความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านสิ่งที่ครู-เด็กเขียนร่วมกันนับเป็นสิ่งทีอ่านได้ดีที่สุด
จากการสอบถามเด็กหญิงหนึ่งว่าหนูชอบอะไรมากที่สุดค่ะ”ชอบดอกกุหลาบ”ทำไมหนูถึงชอบ”เพราะมันสวยดีค่ะ”นี่แหละค่ะภาษาของเด็กที่อาจารย์อยากพวกเราได้เรียนรู้
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
การจัดประสบการณ์ทางภาษาธรรมชาติ
ในวันพุธที่ 26 พฤษจิกายน ที่ผ่านมาอาจารย์ได้สอนเรื่องการจัดประสบการณ์ทางภาษาธรรมชาติ โดยอาจารย์ได้ให้ความหมายของภาษาทางธรรมชาติ ว่าการสื่อสารในชีวิตประจำวัน และยังพูดถึงการสอนภาษาโดยองค์รวม ของ โคมินิอุส "เด็กสามารถค้นพบข้อมูลใหม่ๆ ได้ ด้วยการนำเสนอด้วยสิ่งที่เด็กคุ้นเคยในชีวิตอยู่แล้ว" กู๊ดแมน สมิธ เมอร์ริดิธ "ความรู้จะเกิดขึ้นอย่างพรั่งพรูจากกระบวนการเรียนรู้" ครูควรใช้ภาษาทุกทักษะด้านการฟัง การเขียน พูด อ่าน แบบองค์รวมในทุกกิจกรรมในห้องเรียน ภาษาธรรมชาติ จูดิท นิวแมน "การสอนภาษาโดยแนวคิดองค์รวมมีลักษณะเป็นปรัชญา" จอห์น ดิวอี้ "การรู้ภาษาของเด็กเกิดจากประสบการณ์ตรงโดยการลงมือกระทำด้วยตนเอง"
ทฤษฎีที่เป็นกุญแจสำคัญของการสะท้อนความคิดต่อการสอนของครู(Retlective teaching)
ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู้ ครูควรบูรณาการด้ารภาษาให้กลมกลื่นไปกับการเรียนรู้ทุกเรื่องในหลักสูตร ซึ่งต้องสอดคล้องกับแนวคอดทฤษฎี ต่อไปนี้ เพียเจท์ "เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหวและมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างองค์ความรู้ขึ้นใหม่ภายในตนเอง"ไวกอตรกี "การเรียนรู้ภาษาของเด็ก เกิดขึ้นได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลไก้ลเคียง" ฮอลลิเดย์ "บริบทที่แวดล้อมในสถานการณ์ที่หลากหลายมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ และการใช้ภาษาของเด็ก" กู๊ดแมน "ภาษาเป็นเครื่องมื่อที่สำคัญสำหรับชีวิตเด็ก เด็กต้องเรียนรู้ภาษา เด็กต้องใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้น ครูจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับภาษา" และเมื่ออาจารย์อธิบายเสร็จ อาจารย์ก็ให้ทำกิจกรรม โดยให้นักศึกษาหยิบสิ่งของที่รักที่สุดขึ้นมาคนละหนึ่งชิ้น พร้อมบอกเหตุผล
ทฤษฎีที่เป็นกุญแจสำคัญของการสะท้อนความคิดต่อการสอนของครู(Retlective teaching)
ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู้ ครูควรบูรณาการด้ารภาษาให้กลมกลื่นไปกับการเรียนรู้ทุกเรื่องในหลักสูตร ซึ่งต้องสอดคล้องกับแนวคอดทฤษฎี ต่อไปนี้ เพียเจท์ "เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหวและมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างองค์ความรู้ขึ้นใหม่ภายในตนเอง"ไวกอตรกี "การเรียนรู้ภาษาของเด็ก เกิดขึ้นได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลไก้ลเคียง" ฮอลลิเดย์ "บริบทที่แวดล้อมในสถานการณ์ที่หลากหลายมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ และการใช้ภาษาของเด็ก" กู๊ดแมน "ภาษาเป็นเครื่องมื่อที่สำคัญสำหรับชีวิตเด็ก เด็กต้องเรียนรู้ภาษา เด็กต้องใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้น ครูจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับภาษา" และเมื่ออาจารย์อธิบายเสร็จ อาจารย์ก็ให้ทำกิจกรรม โดยให้นักศึกษาหยิบสิ่งของที่รักที่สุดขึ้นมาคนละหนึ่งชิ้น พร้อมบอกเหตุผล
วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
บันทึกการเรียน
ในวันพุธที่ผ่านมา อาจารย์จินตนาได้สอนให้ทำสื่อเกี่ยวกับวิชานิทานและหุ่น สำหรับเด็กปฐมวัย อย่างเช่น เทคนิคการทำหนังสือนิทาน ให้เป็นภาพ3มิติ
ให้ภายในหนังสื่อเลื่อนขึ้นเลื่อนลงได้ และทำปากตัวละคร นอกจากนี้อาจารย์ยังให้นักศึกษาเลือกชิ้นของที่อยู่ในตัวของแต่ละคนออกมา คนละ1 ชิ้น จากนั้นก็ให้โฆษณาของของของตัวเองให้น่าสนใจ ให้มากที่สุด จากนั้นอาจารย์จินตนาก็สรุปให้นักศึกษาฟัง
วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
บันทึกครั้งแรก
อาจารย์จินตนา ได้สอนให้ทำบล็อกในรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษา เพื่อเป็นแฟ้มสะสมผลงานที่เกี่ยวข้องกับการรายวิชาการจัดประการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย และยังสามารถเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวิชาเอกที่เรียนได้อีกด้วย นอกจากนี้อาจารย์ยังให้นักศึกษามาบันทึกการเรียนในแต่ละอาทิตย์ลงในบล็อกของตัวเองอีกด้วย เพื่อให้นักศึกษาสามารถมาดูการเรียนแต่ละครั้ง เพื่อทบทวนความจำ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)